บทที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ?

1.1 บอกความสัมพันธ์ของจำนวนต่าง ๆ ในระบบจำนวนจริงได้ 1.2 บวก ลบ คูณ และหารจำนวนจริงได้ 1.3 บอกสมบัติของจำนวนจริงที่เกี่ยวกับการบวก การคูณ การเท่ากัน และไม่เท่ากัน และนำไปใช้ได้ 1.3.1 บอกสมบัติของจำนวนจริงที่เกี่ยวกับการบวก การคูณ การเท่ากัน และไม่เท่ากันได้ 1.3.2 นำสมบัติของจำนวนจริงที่เกี่ยวกับการบวก การคูณ การเท่ากัน และไม่เท่ากันไปใช้ได้ 1.4 หาค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงได้

บทที่ 2 เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ?

2.1 บอกความหมายและความแตกต่างของจำนวนตรรกยะ และอตรรกยะได้ 2.2 อธิบายเกี่ยวกับจำนวนจริงที่อยู่ในรูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ได้ 2.2.1 อธิบายเกี่ยวกับจำนวนจริงที่อยู่ในรูปเลขยกกำลังที่เลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ได้ 2.2.2 เขียนจำนวนจริงที่อยู่ในรูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ และจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ได้ 2.3 บวก ลบ คูณ หารจำนวนจริงที่อยู่ในรูปเลขยกกำลัง และจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ได้ 2.3.1 อธิบายการบวก ลบ คูณ หาร จำนวนจริงที่อยู่ในรูปเลขยกกำลัง เป็นจำนวนตรรกยะ และจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ได้ 2.3.2 บวก ลบ คูณ หาร จำนวนจริงที่อยู่ในรูปเลขยกกำลังเป็นจำนวนตรรกยะและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ได้

บทที่ 3 เซต?

3.1 เขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิกและแบบบอกเงื่อนไขได้ 3.1.1 บอกเซตแบบแจกแจงสมาชิกและเงื่อนไขได้ 3.1.2 อธิบายเซตแบบแจกแจงสมาชิกและบอกเงื่อนไขได้ 3.2 ดำเนินการเกี่ยวกับยูเนียน อินเตอร์เซกชั่น คอมพลีเมนต์ และผลต่างของเซตได้ 3.2.1 อธิบายเกี่ยวกับยูเนียน อินเตอร์เซกชั่น คอมพลีเมนต์ และผลต่างของเซตได้ 3.2.2 ดำเนินการเกี่ยวกับยูเนียน อินเตอร์เซกชั่น คอมพลีเมนต์ และผลต่างของเซตได้ 3.3 แก้ปัญหาที่เกี่ยวกับการหาสมาชิกของเซต โดยใช้แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ได้ 3.3.1 อธิบายเกี่ยวกับการหาสมาชิกของเซต โดยใช้แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ได้ 3.3.2 แก้ปัญหาที่เกี่ยวกับการหาสมาชิกของเซต โดยใช้แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ได้ 3.3.3 แก้ปัญหาที่ซับซ้อนเกี่ยวกับการหาสมาชิกของเซต โดยใช้แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ได้

บทที่ 4 การให้เหตุผล?

4.1 ให้เหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยได้ 4.1.1 อธิบายการให้เหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยได้ 4.1.2 ให้เหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยได้ 4.2 บอกได้ว่าการอ้างเหตุผลสมเหตุสมผลหรือไม่ โดยใช้แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ 4.2.1 บอกได้ว่าการอ้างเหตุผลสมเหตุสมผลหรือไม่ โดยใช้แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ 4.2.2 ตรวจสอบการอ้างเหตุผลว่าสมเหตุสมผลหรือไม่ โดยใช้แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ได้

บทที่ 5 อัตราส่วนตรีโกณมิติ?

5.1 อธิบายความสัมพันธ์อัตราส่วนตรีโกณมิติได้ 5.2 หาค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30 องศา , 45 องศา และ 60 องศาได้ 5.2.1 อธิบายค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30 องศา , 45 องศา และ 60 องศาได้ 5.2.2 หาค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30 องศา , 45 องศา และ 60 องศาได้ 5.3 นำอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการหาระยะทางและความสูงได้ 5.3.1 อธิบายเกี่ยวกับการนำอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการหาระยะทางและความสูงได้ 5.3.2 นำอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้หาระยะทาง ความสูง และการวัดได้ 5.3.3 นำอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการหาระยะทางและความสูงได้

บทที่ 6 การใช้เครื่องมือและการออกแบบผลิตภัณฑ์?

6.1 สร้างรูปทางเรขาคณิตได้ 6.2 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปต้นแบบและรูปที่ได้จากการเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุนได้ 6.3 นำสมบัติเกี่ยวกับการเลื่อนขนาน การหมุน และการสะท้อนจากการแปลงทางคณิตศาสตร์ และทางเรขาคณิต ไปใช้ในการออกแบบงานศิลปะได้ 6.3.1 อธิบายเกี่ยวกับการเลื่อนขนาน การหมุน และการสะท้อน จากการแปลงทางคณิตศาสตร์ 6.3.2 นำสมบัติเกี่ยวกับการเลื่อนขนาน การหมุน และการสะท้อน จากการแปลงทางคณิตศาสตร์ และทางเรขาคณิต ไปใช้ในการออกแบบงานศิลปะได้

บทที่ 7 สถิติเบื้องต้น?

7.1 อธิบายขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น และสามารถนำผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นไปใช้ในการตัดสินใจได้ 7.2 หาค่ากลางของข้อมูลที่ไม่มีการแจกแจงความถี่ และแจกแจงความถี่ได้ 7.3 เลือกใช้ค่ากลางที่เหมาะสมกับข้อมูลที่กำหนดและวัตถุประสงค์ที่ต้องการได้ 7.4 นำเสนอข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ได้ 7.5 อ่านและตีความหมายจากการนำเสนอข้อมูลที่กำหนดให้ได้ 7.5.1 อ่านข้อมูลจากการนำเสนอข้อมูล 7.5.2 ตีความหมายจากการนำเสนอข้อมูลที่กำหนดให้ได้

บทที่ 8 ความน่าจะเป็น?

8.1 หาจำนวนผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้นของเหตุการณ์ โดยใช้กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับและแผนภาพต้นไม้อย่างง่ายได้ 8.2 อธิบายการทดลองสุ่มและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ 8.3 หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่กำหนดให้ได้ 8.4 นำความรู้เกี่ยวกับการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ ความน่าจะเป็น ไปใช้ในการคาดการณ์และช่วยในการตัดสินใจได้

บทที่ 9 การใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในงานอาชีพ?

9.1 บอกประเภทของงานอาชีพที่ใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์ได้ 9.2 นำความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในงานอาชีพ ในสังคม และประชาคมอาเซียนได้
9.2 การนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับงานอาชีพในสังคมและประชาคมอาเซียน