0(0)

วิชาวัสดุศาสตร์ 2 รหัสวิชา พว22003 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนที่ 2/2566 ศกร.ตำบลย่านยาว

หลักสูตรรายวิชา

โครงสร้างชุดวิชา พว22003 วัสดุศาสตร์2
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
สาระการเรียนรู้
สาระความรู้พื้นฐาน
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 2.2 มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ
มีความรู้ความเข้าใจ และเห็นคุณค่าเกี่ยวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี สิ่งมีชีวิต ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นและประเทศ
สาร แรง พลังงาน กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและดาราศาสตร์ มีจิตวิทยาศาสตร์และน า
ความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการด าเนินชีวิต
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัสดุศาสตร์รอบตัว การใช้ประโยชน์และ
ผลกระทบจากการใช้วัสดุการจัดการวัสดุอันตราย การคัดแยกและการรีไซเคิลวัสดุและการ
จัดการวัสดุที่ใช้แล้ว
2. ทดลองและเปรียบเทียบสมบัติของวัสดุชนิดต่าง ๆ ได้
3. ตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจากการใช้วัสดุในชีวิตประจ าวัน
สรุปสาระส าคัญ
1. วัสดุศาสตร์ (Materials Science) เป็นการศึกษาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับวัสดุ
ที่น ามาใช้ประกอบกันเป็นชิ้นงาน ตามการออกแบบ มีตัวตน สามารถสัมผัสได้ โดยวัสดุแต่ละ
ชนิดจะมีสมบัติเฉพาะตัว ได้แก่ สมบัติทางฟิสิกส์ สมบัติทางเคมี สมบัติทางไฟฟ้า และสมบัติ
เชิงกล วัสดุที่เราใช้หรือพบเห็นในชีวิตประจ าวัน สามารถจ าแนกตามแหล่งที่มาของวัสดุ ได้แก่
วัสดุธรรมชาติ แบ่งออกเป็น วัสดุธรรมชาติที่ได้จากสิ่งมีชีวิต และวัสดุธรรมชาติที่ได้จากไม่มีชีวิต
และวัสดุสังเคราะห์ ซึ่งเป็นวัสดุที่เกิดจากกระบวนการทางเคมี
2. วัสดุศาสตร์มีความผูกพันกับการด าเนินชีวิตของมนุษย์ มาเป็นเวลาช้านาน หรือ
อาจกล่าวได้ว่า “วัสดุศาสตร์อยู่รอบตัวเรา” ซึ่งวัตถุต่าง ๆ ล้วนประกอบขึ้นจากวัสดุ โดยการ
พัฒนาสมบัติของวัสดุให้สามารถใช้งานในด้านต่าง ๆ ในชีวิตประจ าวันได้มากขึ้น ท าให้วัสดุที่ใช้
ในปัจจุบันมีความแข็ง ความยืดหยุ่น น าไฟฟ้า หรือน าความร้อนได้ดี ตามความเหมาะสมของ
การใช้งาน
3. ขยะมูลฝอยที่เราพบเห็นในชีวิตประจ าวัน เริ่มทวีคูณเพิ่มปริมาณขึ้นเรื่อย ๆ
เพื่อให้มีปริมาณขยะที่ลดน้อยลง เราต้องมีการจัดการขยะมูลฝอยให้ถูกวิธี เพื่อลดผลกระทบ
ที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด ในปัจจุบันการจัดการขยะมูลฝอยมีหลากหลายวิธี เป็นการ
ผสมผสานเพื่อให้เป็นกระบวนการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการแก้ปัญหาของขยะมูล
ฝอย การจัดการขยะมูลฝอยขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง มีความยืดหยุ่น ไม่มีรูปแบบที่ตายตัว
ขึ้นกับเงื่อนไขและปัจจัยด้านการจัดการขยะมูลฝอยของท้องถิ่นนั้นๆ เช่น พื้นที่หรือสถานที่
ระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน และ ในปัจจุบันวิธีการจ ากัดขยะอย่างง่ายๆ ที่พบเห็น มี 2 วิธี
คือ โดยการเผาไหม้และฝังกลบ
4. การคัดแยกวัสดุเป็นการลดปริมาณขยะที่เกิดขึ้นจากต้นทาง ได้แก่ ครัวเรือน
สถานประกอบการหรือสถานที่สาธารณะ ทั้งนี้ ก่อนทิ้งขยะ ครัวเรือน หน่วยงาน หรือสถานที่
สาธารณะต่าง ๆ ควรจัดให้มีระบบการคัดแยกวัสดุประเภทต่าง ๆ เพื่อน าวัสดุเหล่านั้นกลับไปใช้
ประโยชน์ใหม่อย่างมีประสิทธิภาพ และเข้าสู่ระบบการคัดแยกวัสดุเพื่อน าไปรีไซเคิล เป็นการ
เปลี่ยนสภาพของวัสดุให้มีมูลค่า จากสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ให้สามารถน ากลับมาใช้ใหม่ และลด
ค่าใช้จ่ายในการก าจัดขยะที่เกิดขึ้น
5. การจัดการวัสดุอันตราย ถือเป็นเรื่องส าคัญที่ต้องใส่ใจให้มีการคัดแยกและการ
จัดการที่ถูกต้องเหมาะสม เพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
โดยการลดปริมาณขยะอันตราย จากการเลือกซื้อ การใช้ การทิ้ง รวมถึงการรวบรวม เพื่อน าไปสู่
การจัดการขยะอันตรายที่ถูกวิธี รวมไปถึงการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้า
และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่หมดอายุการใช้งานไม่สามารถน ากลับมาใช้ได้โดยค านึงถึงความ
จ าเป็นที่จะต้องใช้สิ่งของเหล่านี้อย่างรู้คุณค่า และสามารถช่วยลดปริมาณขยะอันตรายให้เหลือ
น้อยที่สุดได้
ขอบข่ายเนื้อหา
หน่วยที่ 1 วัสดุศาสตร์รอบตัว จ านวน 30 ชั่วโมง
หน่วยที่ 2 การใช้ประโยชน์และผลกระทบ
จากการใช้วัสดุ จ านวน 20 ชั่วโมง
หน่วยที่ 3 การจัดการวัสดุที่ใช้แล้ว จ านวน 15 ชั่วโมง
หน่วยที่ 4 การคัดแยกและการรีไซเคิลวัสดุ จ านวน 30 ชั่วโมง
หน่วยที่ 5 การจัดการวัสดุอันตราย จ านวน 25 ชั่วโมง
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. บรรยาย
2. ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อที่เกี่ยวข้อง
3. พบกลุ่ม อภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิเคราะห์ และสรุปการเรียนรู้ที่ได้
ลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.)
สื่อประกอบการเรียนรู้
1. สื่อเอกสาร ได้แก่
1.1 ชุดวิชา วัสดุศาสตร์ 2 รหัสวิชา พว22003
1.2. สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดวิชา วัสดุศาสตร์ 2
2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้แก่
2.1 เว็ปไซต์
2.2 หนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.3 CD,DVD ที่เกี่ยวข้อง
3. แหล่งเรียนรู้ในชุมชน ได้แก่
3.1 มุมหนังสือ กศน.ต าบล
3.2 ห้องสมุดประชาชนอ าเภอ
3.3 ห้องสมุดประชาชนจังหวัด
3.4 ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
3.6 เทศบาลและส านักงานสิ่งแวดล้อม
จ านวนหน่วยกิต
ระยะเวลาเรียนตลอดหลักสูตร จ านวน 120 ชั่วโมง รวม 3 หน่วยกิต
กิจกรรมการเรียนรู้
1. ท าแบบทดสอบก่อนเรียนและตรวจสอบค าตอบจากเฉลยท้ายเล่ม
รายวิชาวัสดุศาสตร์ 2
2. ศึกษาเนื้อหาสาระในหน่วยการเรียนรู้ทุกหน่วย
3. ท ากิจกรรมตามที่ก าหนดและตรวจสอบค าตอบจากเฉลยและแนวตอบ
ในท้ายเล่มรายวิชาวัสดุศาสตร์ 2
4. ท าแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจสอบค าตอบจากเฉลยท้ายรายวิชา
วัสดุศาสตร์ 2
การวัดและประเมินผล
1. ประเมินความก้าวหน้าผู้เรียน จ านวน 60 คะแนน ได้แก่
1.1 แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
1.2 การสังเกต การซักถาม ตอบค าถาม
1.3 ตรวจกิจกรรมในแต่ละหน่วยการเรียนรู้(กรต.)
2. ประเมินผลรวมผู้เรียน จ านวน 40 คะแนน โดยการทดสอบปลายภาคเรียน
จ านวน 40 คะแนน

สารบัญรายวิชา

5 บทเรียน

บทที่ 1 วัสดุศาสตร์รอบตัว

เนื้อหา บทที่ 1 วัสดุศาสตร์รอบตัว22:13
แบบฝึกหัด บทที่ 1 วัสดุศาสตร์รอบตัว (10 คะแนน)

บทที่ 2 การใช้ประโยชน์และผลกระทบจากการใช้วัสดุ

บทที่ 3 การจัดการวัสดุที่ใช้แล้ว

บทที่ 4 การคัดแยกและการรีไซเคิลวัสดุ

บทที่ 5 การจัดการวัสดุอันตราย

เกี่ยวกับผู้สอน

ครูวชิรญา ศรีสวัสดิ์ เกิดวันที่ 22 มีนาคม 2526 บ้านเลขที่ 116 ม.6 ต.ย่านยาว อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลย่านยาว สถานที่ทำงาน กศน.อำเภอสวรรคโลก 10/2 ถ.ประชาสงเคราะห์ ต.เมืองสวรรคโลก อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย 64110
5.00 (9 การให้คะแนน)

72 รายวิชา

1544 ผู้เรียน

เรียน

ระยะเวลาการลงทะเบียน: Lifetime