0(0)

คณิตศาสตร์ รหัสวิชา พค31001 ระดับ ม.ปลาย ตำบลวังพิณพาทย์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567

หลักสูตรรายวิชา

สาระสำคัญ
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจำนวนและตัวเลข เศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
การวัด เรขาคณิต สถิติ และความน่าจะเป็นเบื้องต้น
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. ระบุหรือยกตัวอย่างเกี่ยวกับจำนวนและตัวเลข เศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
การวัด เรขาคณิต สถิติ และความน่าจะเป็นเบื้องต้นได้
2. สามารถคิดคำนวณและแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับจำนวนนับเศษส่วน ทศนิยม
ร้อยละ การวัด เรขาคณิตได้
ขอบข่ายเนื้อหา
บทที่ 1จำนวนและการดำเนินการ
บทที่ 2 เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ
บทที่ 3 เซต
บทที่ 4การให้เหตุผล
บทที่ 5 อัตราส่วนตรีโกนมิติและการนำไปใช้
บทที่ 6 การใช้เครื่องมือและการออกแบบผลต่ภัณฑ์
บทที่ 7 สถิติเบื้องต้น
บทที่ 8 ความน่าจะเป็น
บทที่ 9 การใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในงานอาชีพ
สื่อการเรียนรู้
1. ใบงาน
2. หนังสือเรียน

สารบัญรายวิชา

25 บทเรียน

บทที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ?

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. แสดงความสัมพันธ์ของจำนวนต่าง ๆในระบบจำนวนจริงได้ 2. อธิบายความหมายและหาผลลัพธ์ที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวน จริงได้ 3. อธิบายสมบัติของจำนวนจริงที่เกี่ยวกับการบวก การคูณ การเท่ากัน การไม่เท่ากัน และนำไปใช้ได้ 4. อธิบายเกี่ยวกับค่าสมบูรณ์ของจำนวนจริงและหาค่าสมบูรณ์ของจำนวนจริงได้ ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ความสัมพันธ์ของระบบจำนวนจริง เรื่องที่ 2 สมบัติของการบวก การลบ การคูณ และการหารจำนวนจริง เรื่องที่ 3 สมบัติการไม่เท่ากัน เรื่องที่ 4 ค่าสมบูรณ์
เรื่องที่ 1 ความสัมพันธ์ของระบบจํานวนจริง30:14
เรื่องที่ 2 สมบัติของการบวก การลบ การคูณ และการหารจำนวนจริง3:30
เรื่องที่ 3 สมบัติการไม่เท่ากัน30:26
เรื่องที่ 4 ค่าสมบูรณ์29:39
การมอบหมายงาน – บทที่ 1 (10 คะแนน)

บทที่ 2 เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ

บทที่ 3 เซต

บทที่ 4 การให้เหตุผล

บทที่ 5 อัตราส่วนตรีโกณมิติและการนำไปใช้

บทที่ 6 การใช้เครื่องมือและการออกแบบผลิตภัณฑ์

บทที่ 7 สถิติเบื้องต้น

บทที่ 8 ความน่าจะเป็น?

สาระสำคัญ 1. การนับจำนวนผลลัพธ์ที่งหมดที่เกิดจากการกระทำหรือการทดลองใด ๆ ต้องอาศัยกฎเกณฑ์การ นับจึงจะทำให้ง่ายและสะดวก รวดเร็ว 2. ความน่าจะเป็น คือจำนวนที่แสดงให้ทราบว่าเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง มโอกาสเกิดขึ้นมาก หรือน้อยเพียงใด สิ่งที่จำเป็นต้องทราบทำความเข้าใจ คือ - การทดลองสุ่ม (Random Experiment) - แซมเปิลสเปซ (Sample Space) - เหตุการณ์ (Event) 3. ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใด ๆ เป็นการเปรียบเทียบจำนวนสมาชิกของเหตุการณ์นั้น ๆ กับ จำนวนสมาชิกของแซมเปิลสเปซ ซึ่งเป็นค่าที่จะช่วยในการพยากรณ์หรือการตัดสินใจได้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. หาจำนวนผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นของเหตุการณ์ โดยใช้กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับและ แผนภาพต้นไม้อย่างง่ายได้ 2. อธิบายการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์และหาความน่าจะเป็นของ เหตุการณ์ที่กำหนดให้ได้ 3. นำความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นไปใช้ในการคาดการณ์และช่วยในการตัดสินใจ ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 กฎเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับและแผนภาพต้นไม้ เรื่องที่ 2 ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ เรื่องที่ 3 การนำความน่าจะเป็นไปใช้

บทที่ 9 การใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในงานอาชีพ?

สาระสำคัญ การประกอบอาชีพในสงคมและในกลุ่มประชาคมอาเซียนั้นน มีหลากหลายสาขาอาชีพทั้งในด้าน อุตสาหกรรม เกษตรกรรม พณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ และการบริหารจัดการอาชีพในวงการ ดังกล่าวล้วนมีการใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์เข้าไปเกี่ยวข้องเกือบทุกกลุ่มอาชีพ ซึ่งผู้เรียน สามารถนำความรู้และทักษะที่ได้เรียนคณิตศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมาประยุกต์ใช้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. สามารถวิเคราะห์งานอาชีพในสงคมและกลุ่มประชาคมอาเซียนที่ใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์ 2. มีความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์กับงานอาชีพได้ ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ลักษณะ ประเภทของงานอาชีพที่ใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์ เรื่องที่ 2 การนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับงานอาชีพในสงคมและ ประชาคมอาเซียน

เกี่ยวกับผู้สอน

5.00 (7 การให้คะแนน)

60 รายวิชา

1282 ผู้เรียน

เรียน

ระยะเวลาการลงทะเบียน: Lifetime